Scoop

บทความทั่วไป

จากแพขยะ สู่ บ้านพลาสติกของสิ่งมีชีวิตในกองขยะขนาดใหญ่ของมหาสมุทรแปซิฟิก

เมื่อสัตว์น้ำใช้แพขยะเป็นที่อยู่อาศัย อาจทำให้กลายพันธุ์รุกรานต่อระบบนิเวศใกล้เคียง

นี่เรากำลังกินอาหารพร้อมกับพลาสติกอยู่หรือเปล่า?  เช็ค 5 ของในครัวที่อาจปนเปื้อนไมโครพลาสติก

เลี่ยงได้เลี่ยง! ของ 5 อย่างในครัวที่แฝงไมโครพลาสติกแบบไม่รู้ตัวและอาจทำลายสุขภาพเรา

ปิด BOOK เปิด BOARD (เกม) ลงชุมชนผ่านสนามจำลองกับเกม ‘เครื่องมือเจ็ดชิ้น’

สืบเสาะเบาะแสในชุมชน เก็บข้อมูลด้วยการจดๆๆๆ และจดเพื่อคว้าคะแนน!

สิ่งแวดล้อมกับ… วังวนมลพิษ ที่ผังเมืองลิขิตไว้ 

‘กรุงเทพ.. เมืองเทพสร้าง’ ที่การวางผังเมือง และทิศทางการพัฒนาไม่ได้เป็นไปดั่งใจเทพเสียเท่าไหร่

สักวันหนึ่งเราจะไม่มีปลาทูไทยกิน

ปลาทูเป็นอาหารจานคุ้นเคยที่อยู่กับคนไทยมาตั้งแต่วัยเด็ก แต่ทุกวันนี้ปลาทูที่เรากินอาจเป็นปลาทูที่อิมพอร์ตเข้ามา เพราะว่าปลาทูไทยกำลังจะหายไปตลอดกาล

สิ่งแวดล้อมกับ “การมูเตลู” มูผิด ชีวิตเปลี่ยน โลกเปลี่ยน

เมื่อการ ‘มูเตลู’ กลายเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทย แต่สามารถสร้างปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ โดยที่เราไม่รู้ตัว

สิ่งแวดล้อมกับ “เห็ดเผาะ” ที่ไม่ได้เกิดแค่ในป่า : บริโภคเห็ดเผาะอย่างไรให้ยั่งยืนทั้งป่าและคน

“เผาป่าหาเห็ด” คงไม่ใช่ความเชื่อที่ถูกต้อง เพราะเจตนาของคนที่เข้าไปหาเห็ดไม่ใช่การตั้งใจเผาป่า แต่คือการเผาใบไม้เพื่อช่วยให้มองเห็นเห็ดได้ง่ายขึ้น ทว่า การเผาเพียงเล็กน้อยทำให้บานปลายกลายเป็นไฟไหม้ป่าได้

มองโลกรวน ไซโคลน สงคราม ผ่านผู้ลี้ภัยในโมซัมบิกกับภารกิจของ UNHCR

ชะตากรรมในศูนย์พักพิงของคนที่ฝันอยากกลับบ้าน แต่กลับถูกซ้ำเติมด้วยภัยจากมนุษย์

สีเขียวบนธงไพร์ด ไม่ใช่แค่เรื่องของสิ่งแวดล้อมแต่เป็นเรื่องของ “สิทธิ” ในการมี “ชีวิต” ของเราทุกคน

สีเขียวบน ‘ธงสีรุ้ง’ ในช่วง Pride Month ตัวแทนแห่ง ‘ธรรมชาติ’ และเสียงสะท้อนถึงเหล่าสิ่งมีชีวิต ทรัพยากร และสรรพสิ่งต่าง ๆ

วังการี มาไท สตรีเคนยาผู้ผลักดันให้ผู้หญิงสร้างพื้นที่สีเขียวให้โลกและตัวเอง

จากเป้าหมายต้นไม้ 30 ล้านต้นในเคนยา สู่ชีวิตที่อุทิศตนเพื่อสิ่งแวดล้อมและความยุติธรรม

ปลูกต้นไม้ช่วยโลก? เพราะแค่ความตั้งใจดีอาจไม่เพียงพอ

ปลูกต้นไม้ไม่ได้ช่วยโลกเสมอไป แม้จะมีตั้งใจดี แต่อาจสร้างผลเสียกับป่า

ค่าไฟแบบ TOU คืออะไร ?

สิ่งนี้จะช่วยให้ลดค่าไฟฟ้าที่แสนโหดร้ายได้หรือไม่อย่างไร ?

โลกได้รับผลกระทบอะไร เมื่อ ‘เอลนีโญ’ สิ้นสุดแล้ว ‘ลานีญา’ กำลังเข้ามา

ลานีญากำลังมา ในขณะที่มนุษย์โลกก็ยังคงปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โลกจึงไม่ได้หยุดพัก แต่มันจะรุนแรงขนาดไหน?

เกเลพู : ‘เมืองแห่งสติ’ ของภูฏานและอนาคตของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ

เมืองแห่งการฝึกสติแห่งใหม่ของภูฏาน ที่จะเปลี่ยนแปลงการท่องเที่ยวเชิงนิเวศด้วยการผสมผสานความยั่งยืนเข้ากับการฝึกสติ สะท้อนให้เห็นการท่องเที่ยวของภูฏานที่หยั่งรากลึกในความเป็นอยู่ที่ดีท่ามกลางแวดล้อมธรรมชาติ

การซื้อของชุมชนท้องถิ่น ของใกล้ตัวที่เรามองข้าม อาจช่วยโลกได้มากกว่าที่คิด

ยิ่งซื้อของในชุมชนท้องถิ่น ยิ่งมีส่วนในการลดมลพิษที่เกิดจากการขนส่ง ช่วยโลกทางอ้อม และยังสามารถพัฒนาชุมชนได้ในทางตรงด้วย

เบื้องหลังการจัดพื้นที่คทช. ให้ชาวบ้านทำเกษตรและฟื้นฟูป่าที่เคยทรุดโทรม

พื้นที่ คทช. จัดสรรเพื่อให้ชาวบ้านทำการเกษตรได้ แต่ต้องฟื้นฟูป่าคืน เพื่อให้ ‘คนก็ไม่ตาย ต้นไม้ก็โต’ เลยต้องมีหน่วยงานเข้ามาช่วย

วะบิ ซะบิ ปรัชญาที่โอบรับความงามที่ไม่สมบูรณ์แบบ

ชื่นชมความด่างพร้อยของชีวิตด้วยหลักคิดญี่ปุ่นที่ได้รับอิทธิพลจากนิกายเซน

Make-up Overdose ‘ของมันต้องมี’ แต่มีแล้ว ‘ต้องใช้’ ด้วย

เมื่อเครื่องสำอางไลน์ใหม่ออกมา การซื้อมาเติมเรื่อย ๆ ตามกระแส อาจไม่ต่างกับอะไร Fast Fashion

สิ่งแวดล้อม กับ Slow Fashion แค่ยืดอายุผ้า ก็ยืดเวลาโลก

เมื่อการซื้อเร็วตามเทรนด์ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การซื้อช้า ใช้ซ้ำ ควรเป็นทางออกใหม่

พื้นที่ป่าไม้ไทยที่หายไป อาจไม่ใช่เพราะ Climate Change อีกต่อไป

การใช้สอยพื้นที่ อาจเป็นอีกสาเหตุที่ทำให้พื้นที่ป่าไม้ลดน้อยลง แต่ไทยยังคงมีเป้าหมายที่จะเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้สมดุล อย่างน้อย 40% ของพื้นที่ประเทศ

พา ‘ต้นไม้ของเรา’ สู่ตลาด เพิ่มช่องทางซื้อ – ขาย สร้างรายได้แก่เกษตรกร

อีกหนึ่งโครงการส่งเสริมอาชีพ และคืนความสมบูรณ์ให้ป่าของชุมชน อ.สันติสุข จ.น่าน

เมืองดัตช์ จากเมืองที่จักรยานเป็นภัยคุกคามสู่เมืองปั่นดีระดับโลก

เพราะประเทศแห่งการปั่น ไม่ได้สร้างในวันเดียว!

โลกจะเป็นอย่างไรในอีก 30 ปี หากเรายังนิ่งเฉย

โลกนั้นกำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ระบบนิเวศที่สำคัญของโลกพังทลายลงจนไม่สามารถค้ำจุนชีวิต

สารคดี The Last Breath of Sam Yan กับการพัฒนาที่หลงลืมผู้คนและรากเหง้าชุมชน

Sam Yan Smart City นี้ดีสำหรับใคร? หาคำตอบผ่านแนวคิด Gentrification เปลี่ยนเมือง